อ.เกริกชัย ธรรมลักขณา
วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551
วิสัยทัศน์
=> เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทางสะดวก น้ำไหล ไฟสว่าง การศึกษาที่มีคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ เต็มใจบริการ ให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ทั้งยังพัฒนาระบบสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาชุมชน
3.อำนาจหน้าที่
อำนาจหน้าที่ของเทศบาล
ตามพระราชบัญัติเทศบาล พ.ศ.2496 กำหนดไว้โดยชัดเจน ซึ่งอาจจำแนกที่มา ของอำนาจหน้าที่ดังกล่าวเป็น 2 ประเภท คือ อำนาจหน้าที่ตามกฏหมาย จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ้น กำหนดและอำนาจ หน้าที่กฏหมาย เฉพาะอื่น ๆ กำหนดกล่าวคือ อำนาจหน้าที่ตามที่กฏหมายจัดตั้งเทศบาลกำหนด สามารถแบ่งแยกประเภท อำนาจหน้าที่ของเทศบาลไว้เป็น 2 ส่วนคือหน้าที่บังคับ หรือหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติและอำนาจหน้าที่ที่จะเลือกปฏิบัติ ทั้งยังได้กำหนด อำนาจหน้าที่ของเทศบาลในฐานะต่าง ๆ คือ เทศบาลตำบล มีอำนาจหน้าที่ต้องปฏิบัติดังนี้
1.1 มาตรา 50 ภาตใต้บังคับแห่งกฏหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเทศบาลดังนี้
- การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
- ให้มีบำรุงทางบกและทางน้ำ
- รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูล
- ป้องกันระงับโรคติดต่อ
- ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
- ให้ราษฏรได้รับการศึกษาอบรม
- ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
- บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
- หน้าที่อื่นตามที่กฏหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล
1.2 มาตรา 51 ภายใต้แห่งกฏหมายเทศบาลตำบลอาจทำกิจกรรมใดๆในเขตเทศบาลดังนี้
- ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา
- ให้มีโรงฆ่าสัตว์
- ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือหรือท่าข้าม
- ให้มีสุสานและฌาปนสถาน
- บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร
- ให้มีบำรุงสถานที่ที่ทำกิจการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้
- ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
- ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ
- เทศพาณิชย์
อำนาจตามพระราชบัญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ พ.ศ. 2542 กำหนดอำนาจหน้าที่การจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 เพื่อประโยชน์ของประชาชนท้องถิ่น
-การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
- การจัดให้มีการบำรุงรักษาทางบกทางน้ำและทางระบายน้ำ
- การจัดให้มีและควบคุมตลาดท่าเทียบเรือท่าข้ามและที่จอดรถ
- การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น
- การสารธารณูปการ
- การส่งเสริมการฝึกการประกอบอาชีพ
- การพาณิชย์และการส่งเสริมการลงทุน
- การส่งเสริมการท่องเที่ยว
- การจัดการศึกษา
- การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและผู้ด้อยโอกาส
- การบำรุงรักษาศิลปะจารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
- การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
- การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อยใจ
- การส่งเสริมการกีฬา
- การส่งเสริมประชาธิปไตยความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
- การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฏรในการพัฒนาท้องถิ่น
- การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
- การกำจัดขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย
- การสาธารณสุขการอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล
- การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
- การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
- การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
- การรักษาความปลอดภัยความเป็นระเบียบเรียบร้อยการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่นๆ
- การจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม ้ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การผังเมือง
- การขนส่งและวิศวกรรมจราจร
- การดูแลรักษาที่สาธารณะ
- การควบคุมอาคาร
- การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- การรักษาความสงบเรียบร้อยการส่งเสริมและการสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน
- กิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
ตามพระราชบัญัติเทศบาล พ.ศ.2496 กำหนดไว้โดยชัดเจน ซึ่งอาจจำแนกที่มา ของอำนาจหน้าที่ดังกล่าวเป็น 2 ประเภท คือ อำนาจหน้าที่ตามกฏหมาย จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ้น กำหนดและอำนาจ หน้าที่กฏหมาย เฉพาะอื่น ๆ กำหนดกล่าวคือ อำนาจหน้าที่ตามที่กฏหมายจัดตั้งเทศบาลกำหนด สามารถแบ่งแยกประเภท อำนาจหน้าที่ของเทศบาลไว้เป็น 2 ส่วนคือหน้าที่บังคับ หรือหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติและอำนาจหน้าที่ที่จะเลือกปฏิบัติ ทั้งยังได้กำหนด อำนาจหน้าที่ของเทศบาลในฐานะต่าง ๆ คือ เทศบาลตำบล มีอำนาจหน้าที่ต้องปฏิบัติดังนี้
1.1 มาตรา 50 ภาตใต้บังคับแห่งกฏหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเทศบาลดังนี้
- การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
- ให้มีบำรุงทางบกและทางน้ำ
- รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูล
- ป้องกันระงับโรคติดต่อ
- ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
- ให้ราษฏรได้รับการศึกษาอบรม
- ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
- บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
- หน้าที่อื่นตามที่กฏหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล
1.2 มาตรา 51 ภายใต้แห่งกฏหมายเทศบาลตำบลอาจทำกิจกรรมใดๆในเขตเทศบาลดังนี้
- ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา
- ให้มีโรงฆ่าสัตว์
- ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือหรือท่าข้าม
- ให้มีสุสานและฌาปนสถาน
- บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร
- ให้มีบำรุงสถานที่ที่ทำกิจการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้
- ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
- ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ
- เทศพาณิชย์
อำนาจตามพระราชบัญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจ พ.ศ. 2542 กำหนดอำนาจหน้าที่การจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 เพื่อประโยชน์ของประชาชนท้องถิ่น
-การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
- การจัดให้มีการบำรุงรักษาทางบกทางน้ำและทางระบายน้ำ
- การจัดให้มีและควบคุมตลาดท่าเทียบเรือท่าข้ามและที่จอดรถ
- การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น
- การสารธารณูปการ
- การส่งเสริมการฝึกการประกอบอาชีพ
- การพาณิชย์และการส่งเสริมการลงทุน
- การส่งเสริมการท่องเที่ยว
- การจัดการศึกษา
- การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและผู้ด้อยโอกาส
- การบำรุงรักษาศิลปะจารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
- การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
- การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อยใจ
- การส่งเสริมการกีฬา
- การส่งเสริมประชาธิปไตยความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
- การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฏรในการพัฒนาท้องถิ่น
- การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
- การกำจัดขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย
- การสาธารณสุขการอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล
- การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
- การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
- การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
- การรักษาความปลอดภัยความเป็นระเบียบเรียบร้อยการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่นๆ
- การจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม ้ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การผังเมือง
- การขนส่งและวิศวกรรมจราจร
- การดูแลรักษาที่สาธารณะ
- การควบคุมอาคาร
- การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- การรักษาความสงบเรียบร้อยการส่งเสริมและการสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน
- กิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
4.จำนวนบุคลากร
บุคลากรในหน่วยงานเทศบาลตำบลสวนผึ้ง
1.นาย อนันต์ เฮงทองเลิศ ตำแหน่งนายกเทศมนตรี
2.นาย ยอดธง มั่นใจ รองนายกเทศมนตรี
3.นาย จำเนียร แย้มวงษ์ รองนายกเทศมนตรี
4.นาย ชัยนาด ใจมุ่ง เลขานายกเทศมนตรี
5.นาย เสรี คลังนาค ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
1.นาย อนันต์ เฮงทองเลิศ ตำแหน่งนายกเทศมนตรี
2.นาย ยอดธง มั่นใจ รองนายกเทศมนตรี
3.นาย จำเนียร แย้มวงษ์ รองนายกเทศมนตรี
4.นาย ชัยนาด ใจมุ่ง เลขานายกเทศมนตรี
5.นาย เสรี คลังนาค ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2551
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)